วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ระบบปฎิบัติการโซลาริส

ระบบปฎิบัติการโซลาริส 
โซลาริส (อังกฤษ: Solaris) หรือในชื่อเต็ม The Solaris Operating Environment เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดยซัน ไมโครซิสเต็มส์
ระบบปฏิบัติการโซลาริส ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สองแบบ คือ แบบ สปาร์ค และแบบ x86 (แบบเดียวกับในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป)  อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฎิบัติการโอเอสทู วาร์ป

ระบบปฎิบัติการโอเอสทู วาร์ป
  เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม ออกแบบมาเพื่อใช้เป็นระบบควบคุมเครื่องแม่ข่าย ติดต่อกับผู้ใช้โดยระบบกราฟิก แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ทางบริษัทไอบีเอ็มจึงยกเลิกพัฒนาในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ บริษัทเซเรนิตีซิสเต็ม (Serenity System) ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการดังกล่าว โดยใช้ชื่อว่า eComstation โดยรุ่นแรกคือ  อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์

ระบบปฎิบัติการวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์
        วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เป็นระบบปฏิบัติการแรกที่ออกมาหลังจากไมโครซอฟท์ประกาศแนวทาง Trustworthy Computing จึงเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องความปลอดภัย โดยเน้นความปลอดภัยเป็นหลัก เช่นหลังจากการตั้งแต่ติดตั้งเสร็จนั้น ไม่มีส่วนประกอบเซิร์ฟเวอร์ที่เปิดการใช้งานเพื่อลดช่องทางโจมตีตั้งแต่แรกเริ่ม และได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากใน IIS 6.0 โดยเกือบเขียนขึ้นมาใหม่หมด เพื่อเพิ่มความปลอดภัยประสิทธิภาพ  อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการแบบเครือข่าย

ระบบปฎิบัติการแบบเครือข่าย
   จากพัฒนาการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เริ่มต้นด้วยการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่เรียกว่าดัมพ์เทอร์มินอล (Dunp Terminail) เข้ากับเครื่องเมนเฟรม จนปัจจุบันอุปกรณ์ระบบเครือข่ายข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เครื่องเวิร์คสเตชัน เครื่องเซิร์ฟเวอร์อุปกรณ์เราเตอร์ สวิตซ์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ ผ็ใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจำเป็นต้องแชร์ข้อมูล ซึ่งกันและกัน ข้อมูลที่แชร์นั้นต้องการระบบรักษาความปลอดภัย
และการบริหารจัดการที่ดีจึงได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่แรกว่า ระบบ  อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการลินุกซ์

ระบบปฎิบัติการลินุกซ์
    
   ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน  อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการแมคอินทอช

ระบบปฎิบัติการแมคอินทอช

เป็นระบบ ปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช เป็นผลิตภัณฑ์แรกที่ประสบความสำเร็จเกี่ยวกับการทำงานแบบ GUI ในปี ค.ศ. 1984 ของบริษัท Apple ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นระบบปฏิบัติการ Mac OS โดยเวอร์ชันล่าสุดมีชื่อเรียกว่า Mac OS X เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยบริษัท Apple อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์

ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์
เป็นระบบปฏิบัติการที่เคยพัฒนาในห้องแล็บ Bellสร้างขึ้นเพื่อใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์   และเมนเฟรม   ใช้ในการควบคุมการทำงานของศูนย์คอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมลูกข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงเป็นจำนวนมาก   ดังนั้นยูนิกซ์   จึงมักใช้ในระบบเครือข่าย อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟด์วินโดวส์

ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟด์วินโดวส์

     ระบบปฏิบัติการนี้พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (user interface)แบบที่เรียกว่า ระบบติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก หรือที่เรียกว่า จียูไอ (Graphical User lnterFace : GUl) คือ มีการเเสดงผลเป็นรูปภาพและใช้สัญลักษณ์ในรูปรายการเลือก (menu)หรือสัญลักษณ์รูป(icon)ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์แทนการพิมพ์คำสั่งทีละบรร 

ระบบปฎิบัติการดอส

ระบบปฎิบัติการดอส

เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่าโปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS อยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิว  อ่านเพิ่มเติม

ระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยว

ระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยว

ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone  OS)  เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว(เจ้าของเครื่องนั้นๆ)  นิยมใช้สำหรรรรรรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป  เช่น  เครื่องคอมพิวเตอร์หรือสำนักงาน  ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้ไว้ใช้รองรับการทำงานบางอย่าง  เช่น  พิมพ์รายงาน  ดูหนังหรือเชื่อมต่อเข้ากับอิน  อ่านเพิ่มเติม

ประเภทของระบบปฎิบัติการ

ประเภทของระบบปฎิบัติการ
 ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจนำเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิด ตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก ซึ่งอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท    เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำ  อ่านเพิ่มเติม

รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน

รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน

1) รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน 2 แบบ ดังนี้

                1.1) แบบบรรทัดคำสั่ง (command – line interface) เป็นรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ในยุกต์แรกๆ โดยผู้ใช้ต้องพิมพ์คำสั่งให้ระบบปฏิบัติการทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน การติดต่อกับผู้ใช้แบบบรรทัดคำสั่งจึงได้รับความนิ  อ่านเพิ่มเติม